รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง |
การผลิตและการรับรู้ความเป็นไทยในการ์ตูนแอนิเมชันไทย ที่แพร่ภาพทางโทรทัศน์ (พ.ศ.2551-2553)
|
ชื่อเรื่องรอง |
|
ชื่อผู้แต่ง |
1. | ตปากร พุธเกส |
2. | กาญจนา แก้วเทพ |
|
หัวเรื่องคำสำคัญ |
1. | การ์ตูนแอนิเมชันไทย |
2. | ความเป็นไทย |
|
หัวเรื่องควบคุม |
1. | การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยคอมพิวเตอร์ |
2. | การ์ตูนโทรทัศน์ |
3. | เอกลักษณ์ทางสังคม -- ไทย |
4. | การรับรู้ |
5. | โทรทัศน์ -- การผลิตและการกำกับรายการ |
6. | เอกลักษณ์ของชาติ |
|
คำอธิบาย / บทคัดย่อ |
จากการสำรวจรายการโทรทัศน์ประเภทการ์ตูนแอนิเมชัน ในช่วงปี พ.ศ. 2551-2553 พบว่าการ์ตูนแอนิเมชันไทย ในปัจจุบันไม่ได้เล่าเรื่องไทยที่มาจากวรรณคดี หรือนิทานไทยแบบในอดีต แต่การ์ตูนไทยยุคใหม่นี้มีรูปแบบและเนื้อหาที่หลากหลายมากขึ้น เมื่อการ์ตูนแอนิเมชันไทยในปัจจุบันไม่ได้เล่าเรื่องเฉพาะเรื่อราวของคนไทยเหมือนที่ผ่านมา จึงเป็นที่น่าสนใจว่าการ์ตูนแอนิเมชั่นไทย ยุคใหม่เหล่านี้จะยังคงมีความเป็นไทยอยู่หรือไม่ เหตุผลหรือปัจจัยใดที่ทำให้ผู้ผลิตไทยเลือกที่จะผลิตเนื้อหาในลักษณะนี้ และผู้รับสารชาวไทยจะยังคงรับความหมายเป็นไทยจากการ์ตูนแอนิเมชันไทยยุคใหม่เหล่านี้ได้หรือไม่
|
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)