รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง |
ความสำคัญของการใช้ชุดพารามิเตอร์การเปลี่ยนแปลงพื้นหลักฐานที่สอดคล้องกับชุดของค่าพิกัดอ้างอิง
|
ชื่อเรื่องรอง |
|
ชื่อผู้แต่ง |
|
หัวเรื่องคำสำคัญ |
1. | พารามิเตอร์ |
2. | การใช้ชุดพารามิเตอร์การเปลี่ยนแปลงพื้นหลักฐาน |
|
หัวเรื่องควบคุม |
|
คำอธิบาย / บทคัดย่อ |
ประเทศไทยใช้พื้นหลักฐานทางยีออเดซีสองพื้นผิวคือ พื้นหลักฐานท้องถิ่นอินเดียน พ.ศ 2518 และพื้นหลักฐานสากล WGS 84 การแบ่งค่าพิกัดระหว่างพื้นหลักฐานทั้งสองต้องการค่าพารามิเตอร์การแปลงที่ถูกต้อง ชุดของพารามิเตอร์มีเพียงค่าเคลื่อนเพียง 3 ตัวเป็นค่าตามแกน X,Y และ Z เท่านั้น แต่ในช่วงเวลาที่ผ่านมามีการคำนวณค่าไว้ใช้ในงานยีออเดซีถึง 4 ชุดด้วยกัน ค่าต่างระหว่างชุดมีขนาดราว 0.5-1.5 เมตร การใช้ชุดของพารามิเตอร์ไม่สอดคล้องกับค่าพิกัดอ้างอิงของหมุดหลักฐานในแต่ละห้วงเวลา ทำให้ค่าพิกัดทางราบและทางดิ่งของหมุดที่คำนวณมา คาดเคลื่อนไปในในระดับ 0.5-1.5 เมตรด้วย บทความนี้ได้อธิบายถึงความเป็นมาของพื้นหลักฐานทั้งสอง และได้นำเสนอตัวอย่างของปัญหาที่เกิดขึ้น พร้อมทั้งให้ข้อเสนอแนะการใช้ชุดค่าพารามิเตอร์การเปลี่ยนแปลงพื้นหลักฐานที่ถูกต้อง
|
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)