รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง ดิจิทัล แมกกาซีน ตัวหนังสือมีชวิต : ผลกระทบต่ออุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์ และนักอ่าน
ชื่อเรื่องรอง Lively alphabet in digital magazine: effective for publication industry and reader
ชื่อผู้แต่ง
1.ศุภศิลป์ กุลจิตต์จือวงศ์
หัวเรื่องคำสำคัญ
หัวเรื่องควบคุม
1.วารสารอิเล็กทรอนิกส์
2.สิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์
3.สื่ออิเล็กทรอนิกส์
คำอธิบาย / บทคัดย่อ บทความฉบับนี้อธิบายให้ทราบถึงบทบาทของ “Digital Magazine” ในเมืองไทยที่สร้างผลกระทบใก้กับผู้ผลิต (อุตสาหกรรมสิ่งพิมพ์) นิตยสารทั่วไปในรูปแบบของกระดาษ รวมถึงผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียที่ได้รับผลกระทบดังกล่าว ที่ต่างต้องปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งผู้เขียนทำการวิเคราะห์และได้เสนอแนวทางในการปรับตัวใน2 ลักษณะคือ 1) “ ปฎิรูปนิตยสาร” แบบเดิม จากรูปแบบของกระดาษเข้าสู่ระบบดิจิทัล หรือ 2) คงไว้ซึ่งรูปเดิม พร้อมพัฒนาระบบดิจิทัลควบคู่กันกันไป สำหรับในด้านของผู้อ่านนั้น นับว่าเป็นประสบการณ์ที่แปลกใหม่ การเปลี่ยนแปลงการอ่านแบบอนาล็อก (Analog)มาสู่การอ่านแบบดิจิทัล (digital)นอกจากจะทำให้ผู้อ่านได้ทั้งเนื้อหาที่คงไว้ซึ่งคุณภาพแล้ว ยังได้ความหลากหลายของรูปแบบในการนำเสนอ สามารถสืบค้นเนื้อหาในเชิงลึกและกว้าง อีกทั้งยังสามารถสร้างปฏิกิริยาย้อนกลับ ไปยังผู้ผลิตได้โดยตรงด้วยรูปแบบอันทันสมัยของเทคโนโลยีโดยการผ่านรูปแบบ Application ของ Digital magazine
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)
ชื่อวารสาร วารสารนักบริหาร
ปีที่ 32
ฉบับที่ 4
หน้าที่ 25-31
ปีพิมพ์ 2555
ชื่อสำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ชื่อสำนักพิมพ์ภาษาอื่น
ISSN 0125-4960
ตำแหน่งในระบบ Link
ภาษา Thai
ติดต่อบรรณารักษ์
เพื่อยืมตัวเล่มวารสารไปถ่ายเอกสารบทความฉบับเต็ม

(บริการนี้สำหรับนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นเท่านั้น)