รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง สร้างแบรนด์ Kit Kat Japan ด้วยการลากเข้าความ
ชื่อเรื่องรอง Brand building of Kit Kat Japan with popular etymology
ชื่อผู้แต่ง
1.ณัฐพล จารัตน์
หัวเรื่องคำสำคัญ
หัวเรื่องควบคุม
1.ชื่อตราผลิตภัณฑ์ -- การตลาด
2.ชื่อตราผลิตภัณฑ์ -- แง่จิตวิทยา
คำอธิบาย / บทคัดย่อ บทบาทขอภาษาศาสตร์ในมิติทางการตลาดเป็นสิ่งที่ควบคู่กัน ศาสตร์ทางการตลาดใช้มิติทางภาษาศาสตร์ในการสร้างแบรนด์เพื่อให้เป็นที่จดจำของผู้บริโภค (Brand awareness) โดยที่นักการตลาดเองไม่รู้ตัวว่าได้นำมิติทางภาษาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในประเทศญี่ปุ่น การลากความเข้าสู่ภาษาญี่ปุ่นจากคำที่มีความหมายหรือไม่มีความหมายในภาษาต่างประเทศ สามารถสร้างมูลค่าให้แบรนด์ (Value of Brand) เป็นที่น่าจดจำและกระตุ้นให้เกิดการซื้อ แบรนด์ Kit Kat ไม่ได้สื่อความหมายชัดเจนในภาษาอังกฤษ แต่การออกเสียงเป็น (Kitto Katto) ในสำเนียงญี่ปุ่น กลับมีความหมายว่า “ต้องชนะอย่างแน่นอน” ส่งผลให้แบรนด์ Kit Kat เป็นที่จดจำของผู้บริโภคในประเทศญี่ปุ่นอย่างง่ายดายด้วยหลักการลากเข้าความ (popular ettyology1)จึงเชื่อมโยงขั้นตอนการสื่อสารแบรนด์และสร้างมูลค่าต่อแบรนด์แสดงความสัมพันธ์และความสำคัญระหว่างทั้ง สองศาสตร์ได้อย่างลงตัว
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)
ชื่อวารสาร วารสารนักบริหาร
ปีที่ 32
ฉบับที่ 3
หน้าที่ 122 – 126
ปีพิมพ์ 2555
ชื่อสำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ชื่อสำนักพิมพ์ภาษาอื่น
ISSN 0125-4960
ตำแหน่งในระบบ Link
ภาษา Thai
ติดต่อบรรณารักษ์
เพื่อยืมตัวเล่มวารสารไปถ่ายเอกสารบทความฉบับเต็ม

(บริการนี้สำหรับนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นเท่านั้น)