รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง Senior volunteers: a human capital in Thai society
ชื่อเรื่องรอง
ชื่อผู้แต่ง
1.Saratid Sakulkoo
2.Jamnean Joungtrakul
3.Ron Markwardt
หัวเรื่องคำสำคัญ
1.วุฒิอาสา
2.ผู้สูงอายุ
3.ทฤษฎีฐานราก
หัวเรื่องควบคุม
1.การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
2.การบริหารงานบุคคล
3. การพัฒนาแบบยั่งยืน
คำอธิบาย / บทคัดย่อ การประยุกต์ใช้หลักการสร้างทฤษฎีฐานราก (The Grounded theory) ในการศึกษาครั้งนี้ได้ค้นพบองค์ความรู้ที่สำคัญและมีประโยชน์เกี่ยวกับการเป็นอาสาสมัครของวุฒิอาสา (Thai senior volunteers) ต่อสังคมไทยและต่อวุมิอาสา การศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายมุมมองหรือโลกทัศน์ของวุฒิอาสาเกี่ยวกับการเป็นอาสาสมัคร เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจงและแบบเิชิงทฤษฎี (Theoretical sample) จากวุฒิอาสาที่มีประสบการณ์ในการเป็นอาสาสมัครของธนาคารสมอง (The brain bank) จำนวน 33 คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีสัมภาษณ์เชิงลึกแบบหลักการสร้างทฤษฎีฐานราก (The Grounded theory interviewing) ด้วยแนวคำถามการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured interview guideline) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยมือ (Manual) และด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ข้อค้นพบของการศึกษานำเสนอในรูปแบบจำลองที่อธิบายกระบวนการในการเป็นวุฒิอาสาที่ประสบความสำเร็จ Success of volunteering as active aging model (S-VVA model)
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)
ชื่อวารสาร จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์
ปีที่ 32
ฉบับที่ 126
หน้าที่ 106 - 126
ปีพิมพ์ 2553
ชื่อสำนักพิมพ์ กองบรรณาธิการวารสารจุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์
ชื่อสำนักพิมพ์ภาษาอื่น
ISSN 0125-6564
ตำแหน่งในระบบ Link
ภาษา Thai
ติดต่อบรรณารักษ์
เพื่อยืมตัวเล่มวารสารไปถ่ายเอกสารบทความฉบับเต็ม

(บริการนี้สำหรับนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นเท่านั้น)