รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง การศึกษาพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติกับปฏิบัติการสร้างภาพตัวแทนประวัติศาสตร์ชาตไทย
ชื่อเรื่องรอง
ชื่อผู้แต่ง
1.นิษฐา หรุ่นเกษม
2.อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท
หัวเรื่องคำสำคัญ
หัวเรื่องควบคุม
1.พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ
2.การสื่อสาร
คำอธิบาย / บทคัดย่อ ในแวดวงของสาขาวิชานิเทศศาสตร์ที่ได้รับอิทธิพลจากสำนักสัญวิทยานั้น “ทุกสิ่งทุกอย่างที่ขวางหน้า” ล้วนเรียกขานว่า “สื่อ” ได้ทั้งนั้น หากว่าทุกสิ่งทุกอย่างนั้นมีความหมายที่มากไปกว่าตัวของมันเอง เมื่อพิจารณาพิพิธภัณฑ์ด้วยมุมมองดังกล่าว เราจึงได้เห็นว่าพิพิธภัณฑ์มีคุณลักษณะของความเป็นสื่ออยู่มากมาย ตัวอย่างเช่น การเป็นเครื่องแทนความทรงจำถึงอดีต การเป็นเครื่องมือสร้างจิตสำนึกและตอกย้ำอัตลักษณ์ร่วมแห่งความเป็นชาติหรือชุมชนเดียวกัน การที่ผู้เข้าชมพิพิธภัณฑ์แต่ละคนหรือแต่ละกลุ่มสามารถแปลความหมายได้หลากหลายแบบจากองค์ประกอบของสิ่งแสดงต่างๆ ฯลฯ นอกจากนั้นแล้ว เมื่อเราพูดถึง “พิพิธภัณฑ์” เรากำลังพูดถึงพิพิธภัณฑ์ในฐานะภาพตัวแทนของประเด็นและเรื่องราวต่างๆ ที่เกิดขึ้นจากกระบวนการประกอบภาพสร้างความหมาย จากการใช้วัตถุสิ่งขิง เทคนิคการเล่าเรื่อง รวมถึงการออกแบบพื้นที่ ฯลฯ ที่ผู้จัดหรือภัณฑารักษ์ต้องการสื่อหรือแสดงออกมาว่าอยากนำเสนอ “ภาพตัวแทนของความเป็นชาติหรือชุมชน” ภายในพิพิธภัณฑ์ของตนออกมาสู้สายตาบุคคลภายนอกอย่างไร
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)
ชื่อวารสาร วารสารนิเทศศาสตร์
ปีที่ 25
ฉบับที่ 3
หน้าที่ 37 - 52
ปีพิมพ์ 2550
ชื่อสำนักพิมพ์ คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ชื่อสำนักพิมพ์ภาษาอื่น
ISSN 0859-085x
ตำแหน่งในระบบ Link
ภาษา Thai
ติดต่อบรรณารักษ์
เพื่อยืมตัวเล่มวารสารไปถ่ายเอกสารบทความฉบับเต็ม

(บริการนี้สำหรับนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นเท่านั้น)