รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง ภูฏานกับจุดยืน “ความสุขมวลรวมประชาชาติ” บทเวทีโลก
ชื่อเรื่องรอง
ชื่อผู้แต่ง
1.สิริมา ศิริมาตยนันท์
2.คะนอง ปาลิภัทรางกูร
หัวเรื่องคำสำคัญ
หัวเรื่องควบคุม
1.ภูฏาน -- ภาวะสังคม
2.ภูฏาน
คำอธิบาย / บทคัดย่อ การสร้างแบรนด์ให้กับประเทศนั้เปรียบเสมือนการสร้างจุดยืนของแต่ละประเทศบทเวทีโลก สำหรับบางประเทศการที่จะมีจุดยืนบนโลกนั้นไม่จำเป็นต้องยกจุดเด่นทางด้านการค้า การส่งออก อุตสาหกรรม วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีหรือความคิดสร้างวรรค์เสมอไป หากประเทศนั้นมีจุดเด่นทางด้านความสงบ ความเรียบง่าย ปละความสุขแบบยั่งยืนก็สามารถที่จะคงคุณค่าอันบริสุทธิ์และใช้เป็นจุดยืนเพื่อการพัฒนาอย่างมั่นคงบนเวทีโลกได้ราชอาณาจักรภูฏาน (Kingdom of Bhutan)ใช้นวัตกรรมทางสังคมที่น่าสนใจ คือ การใช้ทฤษฎีความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness) ซึ่งเป็นดัชนีใช้วัดความสุขของคนในชาติมากกว่าที่จะเน้นการวัดผลที่เป็นตัวเงิน เป็นจุดยืนอย่างมั่นคงของประเทศ การมีจุดยืนที่เด่นชัดนี้ทำให้ภูฏานพัฒนาประเทศไปอย่างมั่นคง ยั่งยืน โดยสอดคล้องกับวิถีชีวิตดั้งเดิมของชุมชน โดยปัจจัยที่ทำให้แนวคิดความสุขมวลรวมประชาชาติ (Gross National Happiness) ได่รับการบอมรับและหยั่งรากลึกในภูฏานมาจาก 1) การสนับสนุนจากพระมหากษัตริย์ 2) การสนับสนุนจากรัฐบาล 3) ลักษณพื้นฐานของประชากรชาวภูฏานและความเข้มแข็งทางศาสนาและจิตวิญญาณ
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)
ชื่อวารสาร วารสารนักบริหาร
ปีที่ 31
ฉบับที่ 4
หน้าที่ 224-230
ปีพิมพ์ 2554
ชื่อสำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ชื่อสำนักพิมพ์ภาษาอื่น
ISSN 0125-4960
ตำแหน่งในระบบ Link
ภาษา Thai
ติดต่อบรรณารักษ์
เพื่อยืมตัวเล่มวารสารไปถ่ายเอกสารบทความฉบับเต็ม

(บริการนี้สำหรับนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นเท่านั้น)