รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง การเปิดหลักสูตรศิลปะการแสดงในสถาบันอุดมศึกษาของไทย: ปัญหาเรื่องแนวคิดจินตนิยมในสังคมทุนนิยมบริวาร
ชื่อเรื่องรอง The performing arts curricula in Thailand’s higher educational institution: a problem of romanticist idea in peripherral capitalist society
ชื่อผู้แต่ง
1.พรรณศักดิ์ สุขี
หัวเรื่องคำสำคัญ
หัวเรื่องควบคุม
1.ศิลปะการแสดง -- หลักสูตร
คำอธิบาย / บทคัดย่อ ในปี2554 มีสถาบันการศึกษาเปิดหลักสูตรการสอนหลักสูตรปริญญาตรีสาขาศิลปะการแสดง การละคร หรือนาฏยศิลป์ มากถึง41แห่งด้วยกัน แต่จำนวนมิได้หมายถึงยุคทองของศิลปะการแสดงในประเทศไทย ในทางตรงข้ามบัณฑิตสาขาศิลปะการแสดงยังต้องดิ้นรนอย่างยากลำบากหากต้องการนำพาตนเองเข้าไปอยู่ในสายงานอาชีพศิลปะการแสดง ทั้งนี้เพราะอุตสาหรรมบันเทิงยังไม่เล็งเห็นว่าศิลปะการแสดงเป็นสาขาอาชีพเฉพาะที่ต้องผ่านการเพาะบ่มฝึกฝนอย่างถูกต้อง มิใช่ใครก็ได้ที่จะทำงานสร้งสรรค์สาขาศิลปะการแสดงได้อย่างมีคุณภาพ ดังนั้น หลักสูตรศิลปะการแสดงในประเทศไทยจึงอาจตั้งอยู่บนแนวคิดที่ต่างกันออกไปของแต่ละสถาบัน แบ่งเป็นกลุ่มคือกลุ่มจินตนิยม กลุ่มบริโภคนิยมหรือทุนนิยมบริวาร กลุ่มอนุรักษ์นิยมหรือกลุ่มนิยมแปรรูป และกลุ่มผสมผสาน บทความจึงมุ่งเสนอให้สถาบันทบทวนสภาวะความเป็นจริงว่าเรากำลังผลิตบัณฑิตเพื่ออะไร และสามรถนำวิชาความรู้ในสาขาศิลปะการแสดงไปพัฒนาสาขาอาชีพและประเทศชาติได้มากน้อยเพียงใด หรือสูญปล่าว รวมทั้งเสนอความคิดเรื่องละครสร้างสรรค์ที่สอดคล้องกับเศรษฐกิจ
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)
ชื่อวารสาร วารสารนักบริหาร
ปีที่ 31
ฉบับที่ 4
หน้าที่ 80-91
ปีพิมพ์ 2554
ชื่อสำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ชื่อสำนักพิมพ์ภาษาอื่น
ISSN 0125-4960
ตำแหน่งในระบบ Link
ภาษา Thai
ติดต่อบรรณารักษ์
เพื่อยืมตัวเล่มวารสารไปถ่ายเอกสารบทความฉบับเต็ม

(บริการนี้สำหรับนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นเท่านั้น)