รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง สื่อออนไลน์กับอำนาจทางการเมือง
ชื่อเรื่องรอง Online media and political power
ชื่อผู้แต่ง
1.นันทวิช เหล่าวิชยา
หัวเรื่องคำสำคัญ
หัวเรื่องควบคุม
1.สื่ออิเล็กทรอนิกส์ -- แง่การเมือง
คำอธิบาย / บทคัดย่อ ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในทุกภาคส่วน ซึ่งรวมทั้งกลุ่มการเมืองด้วย สำหรับการใช้เทคโนโลยีในกลุ่มการเมืองนั้นล้วนแล้วแต่อาศัยผลประโยชน์จากสื่อออนไลน์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแนวร่วมทางการเมือง ประกอบกับลักษณะของสื่อออนไลน์ที่เน้นปฎิสัมพันธ์ ทำให้ทุกวันนี้จึงมีสื่อออนไลน์จำนวนมากที่เปิดอากสให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็น รวมถึงนัดหมายพบปะ เพื่อแสดงพลังทางด้านการเมือง ซึ่งพบว่าเนื้อหาส่วนใหญ่จะเน้นที่การสร้างความแตกแยกมากกว่าความสมานฉันท์ ด้านผู้รับสารจะเลือกรับข้อมูลข่าวสารที่สอดคล้องกับทัศนคติของตน ทำให้กลุ่มการเมืองใช้สื่อออนไลน์อย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างทัศนคติที่ดี ทั้งนี้การเกิดของทัศนคติสามารถนำไปสู่การเกิดพฤติกรรมการมีส่วนร่วมทางการเมืองได้ เห็นได้จากการร่วมเป็นแฟนเพจของประชาชนทางหน้าเฟสบุ๊คต่างๆ ที่ต่อต้านการชุมนุมของคนเสื้อแดง ส่งผลให้เกิดการรวมตัวขึ้นของกลุ่มเสื้อหลากสีในที่สุด ดังนนั้นจึงไม่สามารถปฏิเสธได้ว่าสื่อออนไลน์เป็นสื่อที่มส่วนสร้างพลังทางการเมืองได้เลย
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)
ชื่อวารสาร วารสารนักบริหาร
ปีที่ 31
ฉบับที่ 2
หน้าที่ 198-204
ปีพิมพ์ 2554
ชื่อสำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ชื่อสำนักพิมพ์ภาษาอื่น
ISSN 0125-4960
ตำแหน่งในระบบ Link
ภาษา Thai
ติดต่อบรรณารักษ์
เพื่อยืมตัวเล่มวารสารไปถ่ายเอกสารบทความฉบับเต็ม

(บริการนี้สำหรับนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นเท่านั้น)