รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง |
ความเชื่อเรื่องบาปกรรมในสังคมไทย
|
ชื่อเรื่องรอง |
Beliefs of karma in Thai society
|
ชื่อผู้แต่ง |
1. | ธนกนก เชื้อทอง |
2. | สุภาภร นพพิชญังกูร |
|
หัวเรื่องคำสำคัญ |
|
หัวเรื่องควบคุม |
1. | บาป -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา |
2. | กรรม -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา |
3. | กรรม -- ความเชื่อ |
|
คำอธิบาย / บทคัดย่อ |
บาปมีความสัมพันธ์กับอกุศลกรรม บาปมีจริงหรือไม่ และให้ผลอย่างไร ต้องอาศัยกรรมเป็นเครื่องพิจารณา การให้ผลของบาปจึงมีความสัมพันธ์กับกรรมซึ่งเป็นตัวกำหนดเวลาการให้ผล บาปจะให้ผลหนักหรือเบาขึ้นอยู่กับประเภทของกรรมที่ทำ ถ้าผู้ทำบาปสามารถดับอวิชชา ตัณหา ละอุปาทานจนได้เข้าสู่นิพพานแล้ว กรรมที่ได้ทำไว้จะกลายเป็นกรรมที่ไม่มีการให้ผลอีก ยกเว้นบาปกรรมประเภท ครุกรรมที่จะส่งผลในทันที ส่วนบาปกรรมบางอย่างที่ยังมาให้ผล เปแนเพราะบาปมีกำลังอ่อนหรือถูกกุศลกรรมอื่นตัดรอนเบียดเบียน ทำให้ต้องใช้เวลาและรอโอกาสที่เหมาะสมในการให้ผล หรือทำให้ไม่มีโอกาสให้ผล แม้คนที่ทำบาปจะยังไม่ได้รับผลบาปอย่างชัดเจน แต่บาปก็ให้ผลทางใจแก่ผู้ทำโดยตรง
|
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)