รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง |
แม่บทการบัญชี: มุมมองระหว่างประเทศ
|
ชื่อเรื่องรอง |
|
ชื่อผู้แต่ง |
1. | วิเศษฐ์ โรจนสุกาญจน |
2. | ศิลปพร ศรีจั่นเพชร |
|
หัวเรื่องคำสำคัญ |
|
หัวเรื่องควบคุม |
|
คำอธิบาย / บทคัดย่อ |
“แม่บทการบัญชีเปรียบเสมือนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรบัญชี ที่วางแนวคิดหลักการและพื้นฐานเกี่ยวกับการจัดทำงบการเงินว่างบการเงินมีไว้เพื่ออะไร มีคุณสมบัติอย่างไร ประกอบด้วยองค์ประกอบอะไรบ้าง การรับรู้และการวัดมูลค่ารายการในงบการเงินมีหลักเกณฑ์อย่างไร และทฤษฎีอะไรที่นักบัญชีใช้ในการวัดผลกำไร” (ดร.ภาพร เอกอรรถพร, พ.ศ. 2544, รู้บัญชีมีประโยชน์)
แม่บทการบัญชีมีพัฒนาการมายาวนานในต่างประเทศ สำหรับประเทศไทย สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยได้ออกแม่บทการบัญชี (ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดของ IASC Framework) เมื่อ พ.ศ.2542 บทความนี้จะเล่าถึงประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของแม่บทการบัญชีในต่างประเทศ รวมถึงลักษณะบางประเด็น ประโยชน์และข้อควรพิจารณาของแม่บทการบัญชี
|
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)