รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง การทดสอบตัวแบบจำลองแบบปัจจัยเดียวเพื่อพรรณนาโครงสร้างของอัตราดอกเบี้ยสำหรับตลาดตราสารหนี้ไทย
ชื่อเรื่องรอง
ชื่อผู้แต่ง
1.อัญญา ขันธวิทย์
2.อนุชนาฏ เจริญจิตรกรรม
หัวเรื่องคำสำคัญ
หัวเรื่องควบคุม
1.อัตราดอกเบี้ย
2.ดอกเบี้ย
คำอธิบาย / บทคัดย่อ การศึกษาทดสอบความสามารถโดยเปรียบเทียบของตัวแบบจำลองของ Vasicek กับตัวแบบจำลอง CIR สำหรับประเทศไทยโดยใช้ข้อมูลอนุกรมเวลาร่วมกับข้อมูลภาคตัดขวาง ตามเทคนิค Kalman Filtering เพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของการศึกษาในลักษณะเดียวกันที่ได้ทำไปก่อนหน้าสำหรับประเทศไทย การศึกษาพบว่า ตัวแบบจำลองของ Vasicek และของ CIR เป็นตัวแบบจำลองที่มีลักษณะไม่สมเหตุสมผล เพราะพยากรณ์ว่าอัตราดอกเบี้ยระยะยาวของประเทศไทยอาจมีระดับสูงถึงร้อยละ 50.00 ต่อปี อย่างไรก็ตาม หากเปรียบเทียบความสามารถระหว่างกันแล้ว ตัวแบบจำลองของ Vasicek มีความสามรถในการพรรณนาพฤติกรรมของอัตราดอกเบี้ยที่เหนือกว่าตัวแบบจำนองของ Merton และตัวแปรจำลองรูป Constrained, Extended CIR เป็นการเพิ่มเติม และได้ข้อสรุปว่าตัวแบบจำลองของ Merton ซึ่งมีลักษณะเรียบง่ายที่สุดกลับเป็นแบบจำลองที่มีความสามารถดีที่สุด ผลการศึกษาเป็นหลักฐานที่ปฏิเสธผลการศึกษาทั้งหมดสำหรับประเทศไทยที่ทำไปก่อนหน้า ซึ่งรายงานว่าตัวแบบจำลองของ CIR เป็นตัวแบบจำลองที่ดีที่สุด
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)
ชื่อวารสาร วารสารบริหารธุรกิจ
ปีที่ 31
ฉบับที่ 117
หน้าที่ 6 - 16
ปีพิมพ์ 2551
ชื่อสำนักพิมพ์ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ชื่อสำนักพิมพ์ภาษาอื่น
ISSN 0125-233x
ตำแหน่งในระบบ Link
ภาษา Thai
ติดต่อบรรณารักษ์
เพื่อยืมตัวเล่มวารสารไปถ่ายเอกสารบทความฉบับเต็ม

(บริการนี้สำหรับนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นเท่านั้น)