รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง |
บทบาทหน้าที่ของกรรมการ: กลไกการกำกับดูแลกิจการ
|
ชื่อเรื่องรอง |
|
ชื่อผู้แต่ง |
|
หัวเรื่องคำสำคัญ |
|
หัวเรื่องควบคุม |
1. | บรรษัทภิบาล |
2. | การจัดการองค์การ |
|
คำอธิบาย / บทคัดย่อ |
กิจการที่เติบโตขึ้นมาได้นั้นจะมีบุคคลหลายฝ่ายที่มีส่วนเกี่ยวข้อง ไม่ว่าจะเป็นผู้ถือหุ้น ซึ่งเป็นเจ้าของเงิน ผู้บริหาร กรรมการพนักงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอื่น
สำหรับกิจการขนาดเล็ก เจ้าของเงินกับผู้บริหารมักเป็นคนๆเดียวกัน เมื่อบริหารงานผิดพลาดก็โทษใครไม่ได้ เจ้าของก็ต้องรับผิดชอบผลประกอบการด้วยประการทั้งปวง แต่เมื่อกิจการเจริญเติบโตขึ้นมาเป็นบริษัทขนาดใหญ่และต้องการระดมทุนจากผู้อื่นด้วย ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียก็เพิ่มมากขึ้นเป็นเงาตามตัวซึ่งตามปกติเจ้าของเงินก็ไม่สามารถเข้ามาบริหารงานได้เอง แต่ไปจ้างผู้บริการมืออาชีพเข้ามาบริหารงานเพื่อให้เกิดมูลค่าสูงสุดกิจการ
ตามทฤษฎีตัวแทน เจ้าของเงิน “ตัวการ” ส่วนผู้บริหารเป็นเสมือน “ตัวแทน” ในการบริหารงาน ผู้เป็นตัวแทนบริหารงานดีมีความสามารถ อีกทั้งไม่เอาประโยชน์เข้าตนเองและพวกพ้องมูลค่าเพิ่มก็เกิดขึ้นกับเจ้าของกิจการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย แต่ในโลกของความเป็นจริง ผู้บริหารอาจไม่ทำงานเต็มกำลังความสามารถ หรือไม่มีความสามารถ หรือซ้ำร้ายไปกว่านั้นอาจหาประโยชน์เข้าตนและพรรคพวก กลไกการกำกับดูแลกิจการจึงต้องเกิดขึ้นมาด้วยประการฉะนี้มูลค่าเพิ่มกับเจ้าของจะเกิดขึ้นได้ จะต้องมีกลไกทำให้เกิด
|
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)