รายละเอียดบทความ
ชื่อเรื่อง จิตตปัญญาศึกษา
ชื่อเรื่องรอง Contemplative Education
ชื่อผู้แต่ง
1.ศิริประภา พฤทธิกุล
หัวเรื่องคำสำคัญ
หัวเรื่องควบคุม
1. จิตตปัญญาศึกษา
2. การเรียนรู้
คำอธิบาย / บทคัดย่อ จิตตปัญญาศึกษาเป็นรูปแบบหนึ่งของการศึกษาแบบองค์รวม ซึ่งใช้ที่หลากหลายบนหลักการแห่งการสังเกตภายตน การมีสติกับปัจจุบันขณะ และการเรียนรู้ด้วยใจอย่างใคร่ครวญ จุดมุ่งหมายคือเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความชัดเจนทางปัญญาและการเปลี่ยนแปลงขั้นพื้นฐานที่มีต่อตนเองและจิตสำนึกต่อส่วนรวม บทความนี้นำเสนอรายละเอียดเกี่ยวกับความเป็นมา ความหมาย จุดมุ่งหมาย ปรัชญาพื้นฐาน หลักการพื้นฐาน ลักษณะการจักกระบวนการเรียนรู้ และตังอย่างรายวิชาการจักประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยตามแนววอลดอร์ฟโดยใช้แนวคิดจิตปัญญาศึกษาพื้นฐาน ผลการนำไปใช้คือ 1) กระบวนการจัดการเรียนรู้เกิดการบรูณาการอย่างสมดุลทั้งทางการ จิตใจ และปัญญา 2) ผลการเรียนรู้ 3 ด้าน ประกอบด้วย 2.1) ด้านความรู้ พบว่า นิสิตเกิดความเข้าใจในเนื้อหาของรายวิชา และเชื่อมโยงไปสู่การเข้าใจตนเอง เข้าใจเด็ก และการสร้างสรรค์สัมพันธภาพต่อผู้อ่าน 2.2)ด้านทักษะ พบว่า นิสิตพัฒนาการมีสติ การน้อมสู่ใจอย่างใคร่ครวญ และการรับรู้อย่างลึกซึงมากขึ้น 2.3) ด้านเจตคติ พบว่า นิสิตมีความสุขและความกระตือรือร้นในการเรียน
รายละเอียดวารสารเพื่อติดตามอ่านบทความฉบับเต็ม (Full Text)
ชื่อวารสาร วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ปีที่ 22
ฉบับที่ 1
หน้าที่ 1 - 13
ปีพิมพ์ 2554
ชื่อสำนักพิมพ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ชื่อสำนักพิมพ์ภาษาอื่น
ISSN 0125-3212
ตำแหน่งในระบบ Link
ภาษา Thai
ติดต่อบรรณารักษ์
เพื่อยืมตัวเล่มวารสารไปถ่ายเอกสารบทความฉบับเต็ม

(บริการนี้สำหรับนักศึกษาและบุคลากรมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์นเท่านั้น)